รถเข็น (0 ชิ้น)
 
ประวัติศาสตร์สุขภาพ

เขียนโดย admin
ศุกร์ 31 ตุลาคม 2551 @ 10:09


ประวัติศาสตร์สุขภาพ
เรียนรู้อดีต เข้าใจปัจจุบัน เพื่อสร้างสรรค์อนาคต
ประวัติศาสตร์การแพทย์และการสาธารณสุขไทยเป็นเรื่อง ที่มีการศึกษาน้อยมาก มีสถานะความรู้หยุดนิ่ง มีทัศนะสำเร็จรูปที่ถือว่าประวัติศาสตร์การแพทย์ไทยเริ่มต้นเมื่อหมอมิ ชชันนารีเข้ามาเผยแพร่การแพทย์ตะวันตกในสยามและมาสิ้นสุดลงที่การก่อตั้ง โรงศิริราชพยาบาล ความสนใจในมิติทางประวัติศาสตร์อื่น ๆ เช่น พัฒนาการของระบบสาธารณสุขไทย ประวัติศาสตร์ทางสังคมของโรค ประวัติศาสตร์การเมืองของสาธารณสุขไทย ประวัติศาสตร์จากมุมมองของชาวบ้าน ยิ่งประวัติศาสตร์วิธีคิดที่เกี่ยวกับความเข้าใจเรื่องสุขภาพและการแพทย์มี การศึกษาน้อยมาก ในขณะที่มีการเปลี่ยนแปลงสำคัญ ๆ เกิดขึ้น เช่น การปฏิรูประบบสุขภาพ นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า จำเป็นที่จะต้องมีงานศึกษาทางเชิงประวัติศาสตร์ไว้ด้วย ที่ผ่านมาระบบการแพทย์และการสาธารณสุขของไทยเน้นที่เทคโนโลยีและความรู้ทาง การแพทย์ที่ก้าวหน้าเป็นหลัก ขาดความเข้าใจในมิติของสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมในบริบทของสังคมไทย แต่การท้าทายกระบวนทัศน์ในระบบสุขภาพไทยในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา ส่งผลให้เกิดการมองระบบสุขภาพในมิติใหม่คือมองอย่างสัมพันธ์และเชื่อมโยง กับมิติอื่น หันมาให้ความสนใจกับการสร้างองค์ความรู้ด้านต่าง ๆ ความสัมพันธ์ระหว่างสังคมและสุขภาพ ความเข้าใจสังคมและสุขภาพผ่านมิติทางประวัติศาสตร์ ซึ่งการทำให้มีจิตสำนึกทางประวัติศาสตร์ช่วยทำให้มนุษย์สามารถเรียนรู้จาก อดีตได้

 


24 2549 - 24 2549

29 ธันวาคม 2548 - 29 ธันวาคม 2548

29 พฤศจิกายน 2542 - 29 พฤศจิกายน 2542





Paper presented at the International Conference on History of Medicine in Southeast Asia, Siamreap, Cambodia
การแพทย์ไทย: วาทกรรมการสร้างรัฐชาติ วิทยาศาสตร์ และภูมิปัญญา
ไข้หวัดนกในมิติทางวัฒนธรรม
ลดใช้อำนาจ-เคารพศักดิ์ศรีมนุษย์ แก้ความรุนแรงไข้หวัดนก
ไข้เลือดออกและโรคติดต่ออุบัติใหม่ในสังคมไทย: ถึงเวลาแล้วที่คนไทยต้องทบทวนหาทางออกร่วมกัน
ประเพณีการกินเจกับสุขภาพ: และวัฒนธรรมว่าด้วยการกินของมนุษย์
หวานเป็นลมขมเป็นยา: ทำไมคนไทยต้องกินหวานมากกว่าคนอื่น-บทความสยามรัฐเดือน ส.ค.49
ข่าวน้ำท่วม: วิธีคิดคนไทยกับธรรมชาติและอำนาจการเมือง, สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์ ปี53ฉ.16(8-14กย.49)
หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าไม่ล้มแน่ มีแต่จะพัฒนาให้ดีขึ้น(จากมติชน) โดย ชาติชาย มุกสง
ความเสียหายทางการแพทย์สามารถเยียวยาได้อย่างไร โดย...ชาติชาย มุกสง
การลดอุบัติเหตุให้ยั่งยืน ต้องลดการสร้างสังคมแห่งความเสี่ยง โดย..ชาติชาย มุกสง
ระบบสุขภาพชุมชน: การเยียวยาความเจ็บป่วยด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ โดย ชาติชาย มุกสง ใน สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์ ปีที่ 54 ฉ. 25 (16-22 มี.ค. 2550)
จากแฮรี่ พอตเตอร์ถึงจาตุคามรามเทพและทรงเจ้าเข้าผีรักษา: บทพิสูจน์ว่าด้วยความศักดิ์สิทธิ์และความเป็นมนุษย์ โดย ชาติชาย มุกสง ใน สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์ ปี54 ฉ.26 (23-29 มี.ค. 2550)
"มีเธอจึงมีฉัน: มองทุกขภาวะให้เป็นปรากฏการณ์ทางสังคม เพื่อความเข้าใจร่วมกัน". โดย ชาติชาย มุกสง ใน สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์ 20-26 เม.ย.50 น.40
"เอาพุทธศาสนาใส่ไว้ในรัฐธรรมนูญกับเอาพุทธธรรมมาไว้ในชีวิตคนไทยอันไหนสำคัญกว่ากัน". โดย ชาติชาย มุกสง ใน สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์ ปีที่ 54 ฉบับ36 1-7 มิ.ย.50 น.40
งานกับอุดมคติของชีวิต นพ. สงวน นิตยารัมภ์พงศ์
วิจัยจากงานประจำ : ทบทวนวรรณกรรมเชิงประวัติศาสตร์
แนวคิดพิพิธภัณฑ์สุขภาพไทย
โฆษณา ชุดหนังสือของขวัญปีใหม่ที่ทรงคุณค่า
ใบสั่งซื้ิอ ชุดหนังสือของขวัญปีใหม่ที่ทรงคุณค่า
กำหนดการประชุมวิชาการสังคมและสุขภาพ พ.ศ. ๒๕๕๘ เสริมสร้างจิตวิญญาณสาธารณสุข สู่ ๑๐๐ ปีการสาธารณสุขไทย
มานุษยวิทยาการแพทย์ในศตวรรษที่ 21
มานุษยวิทยาการแพทย์ในคริสต์ศตวรรษที่ 21 ใน จดหมายข่าวศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (ปีที่ 19 ฉบับที่ 95 เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2560)
บทความ "มานุษยวิทยาการแพทย์ ศตวรรษที่ 21"
โครงการประชุมประวัติศาสตร์สุขภาพ(ครั้งที่ 1)
โครงการวิจัยเรื่องน้ำตาลกับสุขภาพ
โครงการสัมมนาผู้รู้เห็นประวัติศาสตร์การแพทย์ witness seminar


การดูแลผู้สูงอายุสมองเสื่อม
การใช้ยาปฏิชีวนะในสังคม
แรงบันดาลใจจากในหลวง ร.๙
สถาปัตยกรรมกับการเยียวยา
ดูทั้งหมด »
E-Mail

รหัสผ่าน

จดจำการล๊อคอิน

สมัครสมาชิก ลืมรหัสผ่าน